รายงานสถานการณ์ Covid-19 ประจำวัน
รายงานก่อนเวลา 14.00 น. ของทุกวัน
ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา (Phayao Health Datacenter: P-Health) เป็นศูนย์รวมสารสนเทศที่ให้บริการ
ข้อมูลและสารสนเทศ เพื่อติดตามผลงานตามตัวชี้วัดต่างๆ โดยพิจารณาจากลำดับความสำคัญของการพัฒนา 3 ระดับ ได้แก่
- (QOF,Fee Schedule,แพทย์แผนไทย)
- (COC, IMC,LTC, NCD,ตัวชี้วัดตามนโยบาย,คุณภาพข้อมูล )
- (Service plan ,GIS Health, ข้อมูลสนับสนุนPM/พื้นที่, ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร สถิติชีพ ข้อมูลเกิด-ตาย, สถานะสุขภาพ )
- (QOF,Fee Schedule,แพทย์แผนไทย)
- (COC, IMC,LTC, NCD,ตัวชี้วัดตามนโยบาย,คุณภาพข้อมูล )
- (Service plan ,GIS Health, ข้อมูลสนับสนุนPM/พื้นที่, ข้อมูลพื้นฐานด้านประชากร สถิติชีพ ข้อมูลเกิด-ตาย, สถานะสุขภาพ )
# | รายการตัวชี้วัดกลาง และระดับเขต [Global Budget (QOF) 92,140,000 บาท] | น้ำหนัก | วงเงิน |
---|---|---|---|
รายการตัวชี้วัดกลาง |
10 % | 9,214,000 | |
101 | ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74 ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวาน โดยการ ตรวจวัดระดับน้ําตาลในเลือด | 1 % | 921,400 |
201 | ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74 ปี ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง | 1 % | 921,400 |
301 | ร้อยละของหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ | 1 % | 921,400 |
401 | ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี 30-60 ปี ภายใน 5 ปี | 3 % | 2,764,200 |
501 | ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอก | 2 % | 1,842,800 |
601 | อัตราการนอนโรงพยาบาลด้วยภาวะที่ควรควบคุมด้วยบริการผู้ป่วยนอก (ACSC: ambulatory care sensitive condition) ในโรคลมชัก (Epilepsy) ปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) หืด (Asthma) เบาหวาน (Diabetes Mellitus) และความดันโลหิตสูง (Hypertension) | 2 % | 1,842,800 |
รายการตัวชี้วัดของเขต |
90 % | 82,926,000 | |
MCH-01 | 1. อัตราความสำเร็จของ การคลอดที่ปลอดภัย | 40 % | 36,856,000 |
- 1.1 ขณะตั้งครรภ์ มีอายุ >= 20 ปี และ < 35 ปี | 1 คะแนน | ||
- 1.2 ไม่มี Underlining disease ที่มีผลกระทบต่อการตั้งครรภ์และการคลอด | 1 คะแนน | ||
- 1.3 มาฝากครรภ์ครั้งแรก อายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์ | 1 คะแนน | ||
- 1.4 มาฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ | 1 คะแนน | ||
- 1.5 ไม่มีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ และคลอด | 1 คะแนน | ||
- 1.6 ทารก มีน้ำหนักแรกคลอด >= 2,500 กรัม | 1 คะแนน | ||
- 1.7 ไม่เป็นทารกคลอดก่อนกำหนด | 1 คะแนน | ||
- 1.8 ทารกแรกคลอด ไม่มีภาวะขาดออกซิเจน | 1 คะแนน | ||
- 1.9 มารดา ไม่มีภาวะตกเลือดขณะคลอด และหลังคลอด | 1 คะแนน | ||
- 1.10 มารดา ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์ และการคลอด | 1 คะแนน | ||
MCH-02 | 2. อัตรา การเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ ในเด็ก 0 - 5 ปี | 25 % | 25,035,000 |
- 2.1 เด็ก 0 - 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย | 3 คะแนน | ||
- 2.2 เด็ก 0 - 5 ปี มีการเจริญเติบโต สูงดี สมส่วน | 3 คะแนน | ||
- 2.3 เด็ก 0 - 5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มาตรฐาน | 1 คะแนน | ||
MCH-03 | 3. ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 เดือน ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ และ พบเด็กสงสัยล่าช้า | - | 0 |
- 3.1 ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 เดือน ได้รับ การตรวจคัดกรองพัฒนาการ และ พบเด็กสงสัยล่าช้า | 1 คะแนน | ||
DMHT-01 | 4. อัตราความสำเร็จของ การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เบาหวานและความดันโลหิตสูง ในกลุ่มสงสัยป่วย ( Primary Prevention ) | 25 % | 25,035,000 |
- 4.1 ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ผ่านกระบวนการ Health literacy (HT) | 1.5 คะแนน | ||
- 4.1 ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ผ่านกระบวนการ Health literacy (DM) | 1.5 คะแนน | ||
- 4.2 ได้รับการตรวจติดตาม FBS | 1.5 คะแนน | ||
- 4.2 ได้รับการตรวจติดตาม Home BP | 1.5 คะแนน | ||
- 4.3 ได้รับการตรวจยืนยัน - กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง | 1 คะแนน | ||
- 4.3 ได้รับการตรวจยืนยัน - ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วย | 1 คะแนน | ||
- 4.4 ไม่เป็นผู้ป่วยความดันโลหิตสูง | 1 คะแนน | ||
- 4.4 ไม่เป็นผู้ป่วยเบาหวาน | 1 คะแนน |
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคอง มีกิจกรรม Family Meeting และมีการทำ Advance Care Planning (ACP) ร่วมกับผู้ป่วยและครอบครัว จังหวัดพะเยา ปีงบประมาณ 2564
โรงพยาบาล | วินิจฉัยระยะประคับ ประคอง(Z515) |
ได้รับ Advance Care Planning (Z718) |
ร้อยละ |
---|---|---|---|
โรงพยาบาลเชียงม่วน | 45 | 38 | 84.44 |
โรงพยาบาลจุน | 95 | 67 | 70.53 |
โรงพยาบาลดอกคำใต้ | 83 | 57 | 68.67 |
โรงพยาบาลภูซาง | 26 | 17 | 65.38 |
โรงพยาบาลเชียงคำ | 199 | 129 | 64.82 |
โรงพยาบาลแม่ใจ | 122 | 78 | 63.93 |
โรงพยาบาลปง | 98 | 51 | 52.04 |
โรงพยาบาลพะเยา | 273 | 137 | 50.18 |
รวม | 941 | 574 | 61.00 |
Timeline
ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศจังหวัด
ตุลาคม 2563
รับนโยบายจากผู้บริหาร /จัดตั้งคณะทำงานระดับจังหวัด
พฤศจิกายน 2563
ออกแบบการจัดเก็บข้อมูล ความต้องการใช้ข้อมูลจาก Stakeholder
จัดเก็บข้อมูล ความต้องการใช้ข้อมูลจาก Stakeholder(PM,Service plan,GAP) ข้อมูลที่จำเป็นเพื่อกำกับติดตาม เช่น Fee Schedule ,
QOF,ตัวชี้วัด, คุณภาพข้อมูล,อื่นๆ(GIS Health,ข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็น)
QOF,ตัวชี้วัด, คุณภาพข้อมูล,อื่นๆ(GIS Health,ข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็น)
ธันวาคม 2563
จัดประชุมคณะทำงาน เพื่อชี้แจงแนวทางการจัดตั้งศูนย์ข้อมูล (Zoom)
ธันวาคม 2563
พัฒนาข้อมูลสารสนเทศ (The Must) : (Fee Schedule, แผนไทย,QOF)
มกราคม 2564
พัฒนาสารสนเทศ เช่น COC(IMC,PC,LTC),NCD , การดำเนินงานตามนโยบาย/ตัวชี้วัด,ระบบติดตามคุณภาพข้อมูล,
พัฒนาสารสนเทศ เช่น COC(IMC,PC,LTC),NCD , การดำเนินงานตามนโยบาย/ตัวชี้วัด,ระบบติดตามคุณภาพข้อมูล,
สนับสนุนการดำเนินงานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศระดับอำเภอ(API)
มีนาคม 2564
ติดตาม เยี่ยมเสริมพลังศูนย์ข้อมูลสารสนเทศระดับอำเภอ
มิถุนายน 2564
แลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามการดำเนินงาน ศูนย์สารสนเทศระดับอำเภอ
สรุปผลการดำเนิน